หลักสูตรนักประดิษฐ์ รถไร้คนขับ (self drive car) สำหรับผู้เรียนตั้งแต่ระดับ 10 ปีขึ้นไป พร้อมอุปกรณ์มูลค่า 2000 บาท
โดยหลักสูตรนักประดิษฐ์ รถไร้คนขับ (self drive car) หรือ จะเรียกว่า Autonomous car ก็ได้ เป็นหลักสูตรที่เน้นกระบวนการสอนแบบ Project based Learning ที่เริ่มต้นด้วยกระบวนการสอนที่ใช้ Brain based Learning เข้ามาเป็นกรอบเพื่อตอบสนองการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ต้องการให้ผู้เรียนไม่เบื่อหน่าย เน้นกระบวนการเปิดสมองเพื่อตอบรับการเรียนรู้ด้วยการใช้คำถาม ซึ่งการสอนของเราจะใช้คำถามเพื่อให้ผู้เรียนอยากเรียนรู้ สร้างสรรค์ ทำงานด้วยกันเป็นทีม โดยเน้นโครงงานเป็นสำคัญ เพื่อเปิดให้ผู้เรียนคิดเป็นทำเป็น hand On สร้างองค์ความรู้ของตนเองได้ contructionism เพื่อให้เป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นคนที่หาปลาได้เอง เพื่อฝึกให้เป็นทักษะที่ติดตัวต่อไปในอนาคต สามารถบูรณาการความรู้ มีการคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ (Systematic thinking) มีการคิดอย่างเป็นเหตุผล (Logical Thinking) มีการใช้การคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) ซึ่งต้องใช้การคิดเชิงนามธรรม การแยกส่วนประกอบของปัญหา การหารูปแบบ เพื่อมาออกแบบขั้นตอนการแก้ปัญหาก่อนลงมือทำ เพื่อนำมาซึ่งสร้างนวัตกรรมหรือสิ่งประดิษฐ์ ซึ่งจะต้องใช้ความรู้ทางด้าน Coding STEM AI IOT หรือทักษะทางด้านดิจิทัล มาบูรณาการร่วม โดยผู้เรียนจะต้องเข้าใจหลักการออกแบบทางวิศวกรรม Engineering Design Process และ Design Thinking เพื่อให้สามารถสร้างสรรค์ชิ้นงาน โดยใช้เครื่องมือที่ทันสมัยในการออกแบบไม่ว่าจะเป็น 3DPrinter LaserCutting เพื่อสร้างเป็นนวัตกรรมหรือสิ่งประดิษฐ์ที่สามารถนำเสนอหรือเพื่อเป็นโครงงานหรือแรงบันดาลใจ และเพื่อเป็นทักษะที่ติดตัวผู้เรียนต่อไปในอนาคต
กำหนดการสอน
1 | ประดิษฐ์รถโดยกำหนดอุปกรณ์ที่กำหนด | สร้างแรงบันดาลใจ นักประดิษฐ์ฮอนด้า วิวัฒนาการของรถยนต์ |
2 | เพิ่มสมองกลฝั่งตัว | ให้เปลี่ยนจากวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายและให้ใช้สมองกลฝั่งตัวแบบต่างๆ ที่นักเรียนถนัด เช่น microbit halocode kidbright |
3 | เพิ่ม sensor | ให้ทำการคิดแก้ปัญหารถ โดยการเพิ่ม sensorต่างๆ 2-3 ตัว |
4 | 3D Printer โครงสร้างรถ | เรียนรู้โปรแกรม thinkerCAD และออกแบบโครงสร้างภายนอกของรถ |
5 | AI รถ | เรียนรู้การใช้โปรแกรม mBlock5 AI |
6 | กล้อง pixy | เรียนรู้การใช้โปรแกรม mBlock5 AI |
7 | IOT รถ | เรียนรู้การใช้โปรแกรม mBlock5 iOT |
8 | เรียนรู้การใช้เครื่อง LaserCutting | เรียนรู้โปรแกรม thinkerCAD และออกแบบโครงสร้างรถ |
9 | ออกแบบรถของตนเอง | เรียนรู้ Design thinking และ ลงมือออกแบบชิ้นงานของตนเอง |
10 | นำเสนอโครงงาน | เรียนรู้การเป็น Youtuber ที่ดี สื่อ Social media การนำเสนอที่ดี |
-
ส่วนที่ 0 ความรู้เบื้องต้นก่อนจะเป็นนักประดิษฐ์
ก่อนเป็นนักประดิษฐ์
- 01 นักสร้างนวัตกรรม Innovator ควรมีคุณสมบัติอย่างไร
- แบบทดสอบหลังเรียน 01 ทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรม
- 02 การคิดเชิงออกแบบ Design Thinking
- แบบทดสอบหลังเรียน ส่วนที่ 02 การคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)
- 03 สะเต็มศึกษา STEM Education
- แบบทดสอบหลังเรียน ส่วนที่ 03 สะเต็มศึกษา STEM Education
- 04 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม Engineering Design Process Part 1
- 04 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม Engineering Design Process Part 2
- 04 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม Engineering Design Process Part 3
- 04 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม Engineering Design Process Part 4
- แบบทดสอบหลังเรียน ส่วนที่ 04 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม Engineering Design Process
- 05 การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน Brain based Learning คืออะไร
- แบบทดสอบหลังเรียน ส่วนที่ 05 การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน Brain based Learning คืออะไร
-
ส่วนที่ 1 ประดิษฐ์รถโดยกำหนดอุปกรณ์ที่กำหนด
สร้างแรงบันดาลใจ นักประดิษฐ์ฮอนด้า วิวัฒนาการของรถยนต์
- 11 Project STEM Challenge ประดิษฐ์รถขั้นพื้นฐาน (Basic)
- 12 ประวัติของนักประดิษฐ์ โซอิจิโร่ ฮอนด้า
- แบบทดสอบหลังเรียน ส่วนที่ 12 ประวัติของนักประดิษฐ์ โซอิจิโร่ ฮอนด้า
- 13 วิวัฒนาการของสิ่งประดิษฐ์ รถ
- แบบทดสอบหลังเรียน ส่วนที่ 13 วิวัฒนาการของสิ่งประดิษฐ์ รถ
- 14 ใบความรู้เรื่อง วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย Part 1
- 14 ใบความรู้เรื่อง วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย Part 2
- 14 ใบความรู้เรื่อง วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย Part 3
- แบบทดสอบหลังเรียน ส่วนที่ 14 ใบความรู้เรื่อง วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
- 15 ใบความรู้เรื่อง กลไก คาน
- แบบทดสอบหลังเรียน ส่วนที่ 15 ใบความรู้เรื่อง กลไก คาน
- 16 ใบความรู้เรื่อง กลไก ล้อ
- แบบทดสอบหลังเรียน ส่วนที่ 16 ใบความรู้เรื่อง กลไก ล้อ
- 17 ใบความรู้เรื่อง การคิดเชิงคำนวณ
- แบบทดสอบหลังเรียน ส่วนที่ 17 ใบความรู้เรื่อง การคิดเชิงคำนวณ
- 18-1 ใบความรู้เรื่อง การรวบรวมข้อมูล (ICT Literacy)
- แบบทดสอบหลังเรียน ส่วนที่ 18-1 ใบความรู้เรื่อง การรวบรวมข้อมูล (ICT Literacy)
- 19 Project STEM challenge ประดิษฐ์รถ โดยใช้รีโมทไร้สาย
-
ส่วนที่ 2 การใช้สมองกลฝั่งตัวเพื่อควบคุมสิ่งประดิษฐ์
ให้เปลี่ยนจากวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายและให้ใช้สมองกลฝั่งตัวแบบต่างๆ ที่นักเรียนถนัด เช่น microbit halocode kidbright
- 2-1 Project STEM Challenge ประดิษฐ์ รถโดยการใช้อุปกรณ์สมองกลฝั่งตัว ควบคุมโดยการเขียนโปรแกรม manit
- 2-2 ใบความรู้เรื่อง อุปกรณ์ สมองกลฝั่งตัว Microcontroller Input และ output อ.โต้ง
- 2-3 ใบความรู้ เรื่อง อุปกรณ์ อิเลคทรอนิกส์ เบื้องต้น โต้ง
- 2-41 ใบความรู้ เรื่อง Coding ขั้นพื้นฐาน
- 2-42 ใบความรู้ เรื่อง โปรแกรม Scratch & mBlock5
- 2-51 ใบความรู้ เรื่อง สมองกลฝั่งตัว Halocode manit
- 2-52 ใบความรู้ เรื่อง สมองกลฝั่งตัว Halocode เชื่อมต่อกับ DC Motor manit
- 2-61 ใบความรู้ เรื่อง สมองกลฝั่งตัว Microbit อ.ไก่
- 2-62 ใบความรู้ เรื่อง Makecode อ.ไก่
- 2-63 ใบความรู้ เรื่อง สมองกลฝั่งตัว Microbit เชื่อมต่อกับ DC Motor อ.ไก่
- 2-71 ใบความรู้ เรื่อง สมองกลฝั่งตัว Kidbright อ.เปิ้ล
- 2-72 ใบความรู้ เรื่อง โปรแกรม Kidbright อ.เปิ้ล
- 2-73 ใบความรู้ เรื่อง สมองกลฝั่งตัว Kidbright เชื่อมต่อกับ DC Motor อ.เปิ้ล
- 2-8 Project STEM Challenge ประดิษฐ์รถโดยการใช้อุปกรณ์สมองกลฝั่งตัว ควบคุมโดยการใช้ Remote ไร้สาย manit
- 2-9 ใบความรู้ เรื่องอุปกรณ์ input Remote เชื่อมต่อกับสมองกลฝังตัว Halocode Microbit Kidbright
-
ส่วนที่ 3 เรียนรู้อุปกรณ์ input (sensor) และ อุปกรณ์ Output สำหรับอุปกรณ์ สมองกลฝั่งตัว เพิ่มเติม
ให้ทำการคิดแก้ปัญหารถ โดยการเพิ่ม sensorต่างๆ
- 3-1 Project STEM Challenge ประดิษฐ์รถโดยใช้อุปกรณ์สมองกลฝั่งตัว และเพิ่มอุปกรณ์ Output และ Input Sensor ต่าง ๆ
- 3-21 ใบความรู้ เรื่อง อุปกรณ์ input Sensor ของ Halocode mBuild
- 3-22 ใบความรู้ เรื่อง อุปกรณ์ output ของ halocode
- 3-31 ใบความรู้ เรื่อง อุปกรณ์ input sensor ของ Microbit อ.ไก่
- 3-32 ใบความรู้ เรื่อง อุปกรณ์ output ของ Microbit อ.ไก่
- 3-41 ใบความรู้ เรื่อง อุปกรณ์ Input sensor ของ Kidbright อ.ไก่
- 3-42 ใบความรู้ เรื่อง อุปกรณ์ output ของ Kidbright อ.ไก่
- 3-5 Project STEM Challenge ประดิษฐ์รถโดยการใช้อุปกรณ์สมองกลฝังตัว ภารกิจที่ 1 เดินตามเส้น (Line follower sensor)
- 3-6 Project STEM Challenge ประดิษฐ์รถโดยการใช้อุปกรณ์สมองกลฝังตัว ภารกิจที่ 2 หลบหลีกสิ่งกีดขวาง (Ultrasonic sensor)
- 3-7 Project STEM Challenge ประดิษฐ์รถโดยการใช้อุปกรณ์สมองกลฝังตัว ภารกิจที่ 3 คีบวัตถุ
- 3-8 Project STEM Challenge ประดิษฐ์รถโดยการใช้อุปกรณ์สมองกลฝังตัว ภารกิจที่ 4 สำรวจอวกาศ ( Touch sensor color sensor Temperature humidity sensor)
-
ส่วนที่ 4 การออกแบบโครงสร้าง 3D และการใช้เครื่องพิมพ์ 3D Printer เพื่อสร้างตัวถังรถ
เรียนรู้โปรแกรม thinkerCAD และออกแบบตัวถังของรถ
-
ส่วนที่ 5 การใช้กล้อง pixy เพื่อควบคุมรถ
เรียนรู้การใช้อุปกรณ์ กล้อง Pixy
-
ส่วนที่ 6 การใช้ปัญญาประดิษฐ์ AI เพื่อควบคุมรถ
เรียนรู้การใช้โปรแกรม mBlock5 AI
- 6-1 Project STEM Challenge ประดิษฐ์รถโดยใช้ ปัญญาประดิษฐ์ AI
- 6-2 ใบความรู้เรื่อง ปัญญาประดิษฐ์ AI คืออะไร
- 6-21 โปรแกรม mBlock5 extension cognitive service
- 6-22 โปรแกรม mBlock5 extension AI service
- 6-31 Project STEM Challenge ประดิษฐ์รถโดยใช้ ปัญญาประดิษฐ์ AI Teachable Machine
- 6-32 โปรแกรม mBlock5 extension Teachable Machine
-
ส่วนที่ 7 เรียนรู้การใช้ข้อมูลเพื่อควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ IOT
เรียนรู้การใช้โปรแกรม mBlock5 iOT
- 7-1 Project STEM Challenge การใช้ IOT เพื่อเก็บข้อมูล และ ควบคุมอุปกรณ์
- 7-21 ใบความรู้ เรื่อง IOT เบื้องต้น
- 7-22 ใบความรู้ เรื่อง วิทยาการข้อมูล Data science
- 7-23 ใบความรู้ เรื่อง โปรแกรม mBlock5 extension google sheet
- 7-24 ใบความรู้ เรื่อง โปรแกรม mBlock5 extension data chart
- 7-25 ใบความรู้ เรื่อง โปรแกรม mBlock5 extension Climate data
- 7-26 ใบความรู้ เรื่อง โปรแกรม mBlock5 extension user cloud message
- 7-27 ใบความรู้ เรื่อง โปรแกรม mBlock5 extension upload mode message
- 7-3 Project STEM Challenge โดยใช้ sensor อื่นๆ ในการเก็บค่า
- 7-4 ใบความรู้ เรื่อง การเก็บข้อมูล และ สั่งงานโดยใช้ อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ Application : mBlock5
-
ส่วนที่ 7.1 การใช้งาน Ardunio iOT (สำหรับระดับมัธยมศึกษา) มะ
- 71-1 Project STEM challenge การใช้ Ardunio และ อุปกรณ์ เชื่อมต่อ iOT
- 71-21 ใบความรู้ เรื่อง Ardunio บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นก่อนเริ่มใช้งาน Ardunio
- 71-22 ใบความรู้ เรื่อง Ardunio บทที่ 2 การเขียนโปรแกรมควบคุมสมองกลฝังตัว Microcontroller Ardunio
- 71-23 ใบความรู้ เรื่อง Ardunio บทที่ 3 เครื่องมือช่วยพัฒนางานไมโครคอนโทรลเลอร์
- 71-24 ใบความรู้ เรื่อง Ardunio บทที่ 4 ใบกิจกรรม
- 71-3 ใบความ เรื่อง อิเลคทรอนิกส์ (ขั้นสูง)
- ใบความรู้ เรื่อง IDE Ardunio C
- ใบความรู้ เรื่อง อุปกรณ์เสริม extension Ardunio
- ใบความรู้ เรื่อง การสร้าง Library ใน Ardunio
- ใบความรู้ เรื่อง การสร้าง Server เชื่อมต่อ MQTT goole Cloud
- ใบความรู้ เรื่อง การเขียน Application : Appinventer (สำหรับผู้เรียนระดับมัธยม)
- ใบความรู้ เรื่อง การเขียน Application : Kodular Thunkable (สำหรับผู้เรียนระดับมัธยม)
- ใบความรู้ เรื่อง การสร้าง Notification line facebook IG
-
ส่วนที่ 8 เรียนรู้การใช้เครื่อง LaserCutting
เรียนรู้โปรแกรม thinkerCAD และออกแบบโครงสร้างรถ
-
ส่วนที่ 9 ออกแบบรถไร้คนขับ (Self Drive Car)
เรียนรู้ Design thinking และ ลงมือออกแบบชิ้นงานของตนเอง
-
ส่วนที่ 10 การนำเสนอผลงานอย่างมืออาชีพ
เรียนรู้การเป็น Youtuber ที่ดี สื่อ Social media การนำเสนอที่ดี
- Project STEM Challenge การนำเสนอผลงาน
- ใบความรู้ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย
- ใบความรู้ เรื่อง ลิขสิทธิ์ และ การปกป้องสิทธิ์ของตนเอง
- ใบความรู้ เรื่อง การนำเสนอผลงานด้วย เอกสาร Portfoilo Engineering Log
- ใบความรู้ เรื่อง บุคคลิกของผู้นำเสนอ
- ใบความรู้ เรื่อง การนำเสนอผลงาน โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์
- ใบความรู้ เรื่อง โปรแกรมสื่อสังคมออนไลน์
- ใบความรู้ เรื่องการ สร้างสื่อสังคมออนไลน์ youtube IG Page Facebook Tiktok อย่างเหมาะสม
- ใบความรู้เรื่อง การเป็นผู้สื่อสารสื่อสังคมออนไลน์อย่างเหมาะสม
- ใบความรู้ เรื่อง การถ่ายภาพ
- ใบความรู้ เรื่อง การถ่ายวีดีโอ
- ใบความรู้ เรื่อง การตัดต่อวีดีโอ OVS
- ใบความรู้ เรื่อง การนำผลงานตนเองไปสู่อนาคต
-
ส่วนที่ 11 การใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผลและควบคุม Drone ด้วยระบบ AI OpenCV (ส่วนต่อขยาย สำหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา) (มะ)
ส่วนที่ 11 เป็นส่วนต่อขยายสำหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา ซึ่งจะเรียนโปรแกรมภาษา Python และ C เป็นหลักในการควบคุมอุปกรณ์ รวมถึง AI
-
ส่วนที่ 12 การใช้อุปกรณ์ Raspberry PI ควบคุม รถไร้คนขับ ด้วยระบบ AI OpenCV (ส่วนต่อขยาย สำหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา) (มะ)
- Project STEM Challenge 11-2 การสร้างรถไร้คนขับ โดยใช้ openCV face recogintion
- ใบความรู้ เรื่อง Raspberry PI
- ใบความรู้ เรื่อง mBlock(Nova PI)
- ใบความรู้ เรื่อง Ardunio (Option ถ้าเรียนมาแล้วไม่ต้อง)
- ใบความรู้ เรื่อง IDE Ardunio C (Option ถ้าเรียนมาแล้วไม่ต้อง)
- ใบความรู้ เรื่อง การใช้อุปกรณ์ สมองกลฝังตัว เช่น mBlock(Nova PI หรือ Arudino) ควบคุมและประมวลผลด้วย Raspberry PI
-
ส่วนที่ 13 การเขียนโปรแกรม Application เพื่อ ควบคุมอุปกรณ์ (ส่วนต่อขยาย สำหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา) (มะ)
ส่วนที่ 12 เป็นส่วนต่อขยายสำหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา ซึ่งจะเรียนโปรแกรมภาษา Python และ C เป็นหลักในการควบคุมอุปกรณ์ด้วยการใช้ VR application ด้วยการใช้โปรแกรม Unity
- ใบความรู้ เรื่อง Basic Unity การสร้างภาพสามมิติ
- ใบความรู้ เรื่อง การเขียน Application ด้วย Unity
- ใบความรู้ เรื่อง การเชื่อมต่อ Application ด้วย VR
- ใบความรู้ เรื่อง การเชื่อมต่อ Unity ควบคุมอุปกรณ์ (รับส่งค่า) MicroController Arudino
- Project STEM Challenge การควบคุมรถไร้คนขับ โดยใช้ Application
- Project STEM Challenge การควบคุมรถไร้คนขับ โดยใช้ VR